post

คาถาพารวย หากพูดถึงเรื่องของโชคลาภและแน่นอนว่าคนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลกแน่ๆ ซึ่งเราจะเห็นได้เป็นประจำว่าหากมีสิ่งที่เกิดขึ้นผิดแผกแปลกไปนั้นไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการที่ต้นไม้มีรูปร่างหน้าตาแปลกประหลาด สัตว์ออกลูกมาประหลาด หรือเจอต้นไม้ที่มีอายุมากนั้นก็มักจะเห็นคนไปบนบานขอหวยกัน ซึ่งในเรื่องของหวยนั้นปัจจุบันก็มีทั้งการแทงหวยใต้ดินและหวยรัฐบาล โดยการแทงหวยใต้ดินนั้นแน่นอนว่าย่อมต้องถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย

เว้นเสียแต่ว่าได้ซื้อหวยรัฐบาลหรือสลากกินแบ่งรัฐบาล หรือซื้อสลากออมสินนั่นเอง โดยสลากกินแบ่งรัฐบาลนั้นใน 1 เดือนก็จะมีการออกรางวัลถึง 2 งวด ฉะนั้นคนไทยที่ชอบเล่นหวยก็มักจะมองหาสิ่งที่ช่วยในการเสริมโชคลาภ ไม่ว่าจะเป็นการพกเครื่องรางของขลังหรือการท่องคาถาก่อนซื้อหวย เป็นต้น และสำหรับในวันนี้นั้นเราก็มีคาถาที่คนชอบเล่นหวยต้องรู้จักกันเป็นอย่างดีมาฝากเพื่อนๆทุกคนก็ด้วย

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

คาถาพารวย
คาถาพารวย

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

คาถาพารวย มีอะไรบ้าง

  1. คาถามหาลาภ ซึ่งมันก็จะเป็นคาถาที่ใช้ในการปรับพื้นฐานของดวงคนเราให้มีโชคลาภนั่นเอง ซึ่งคาถานั้นก็ได้แก่ “ มะอะอุ อุอะมะ อะมะอุ นะชาลีติ ชาลีตินะ ลีตินะชา ตินะชาลี โชคลาภไหลมา นะชาลีติ “
  2. คาถาที่จะช่วยทำให้เราฝันเห็นเลขเด็ด แน่นอนว่าสำหรับคนที่ยังไม่มีเลขเด็ดที่จะใช้ในการแทงหวยนั้นก็มักจะท่องคาถานี้ก่อนที่จะไปซื้อหวยเพื่อให้เกิดความฝันเอาไปตีเป็นเลขนั่นเอง ซึ่งคาถาที่ช่วยให้ฝันเห็นเลขนั้นก็ได้แก่ “ มะอะอุสีวังอุจุตตัง พระอะระหังจุติโลกัง อิทังยะธิระสังฆังจุติจุติ “
  3. คาถาเสกเงิน สำหรับคาถาเสกเงินนี้ก็เพียงแค่ให้เราท่องคาถาใส่เงิน 9 วันก่อนที่เราจะนำเงินนั้นไปซื้อหวยนั่นเอง โดยคาถานี้ ก็คือ “ มิเตพาหุ หะติ อุอากะสะ “ 
  4. คาถาทำให้ถูกหวย สำหรับคาถานี้ก็ให้เราทำการท่องก่อนที่หวยจะออก 3 วัน โดยคาถานี้ก็คือ “ อุเย อะเย อุอากะสะ “

แล้วที่เราได้กล่าวไปนั้นก็เป็นคาถาที่คอหวยทั้งหลายมักจะคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี ซึ่งก็แน่นอนว่าสำหรับการที่เราจะถูกรางวัลได้นั้นจำเป็นต้องอาศัยเรื่องของดวง รวมถึงเรื่องของการทำบุญทำทาน

สมัครยูฟ่า เพื่อการหารายได้ที่รวดเร็ว

เคดิต : จีคลับ

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *